บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 23 กันยายน 2557 ครั้งที่ 6
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.
เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
กิจกรรมภายในวันนี้
อาจารย์พูดถึง วิธีการเรียนรู้ และ การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)
เพื่อนๆออกไปพูดบทความ
1.สอนลูกเรื่องพืช
2.เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย
3.แนวทางสอนคิด เติมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก
4.การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆสำหรับคุณหนูๆ
กิจกรรมศิลปะ
อุปกรณ์
-กระดาษ
-สี ดินสอ
-กาว
-ไม้แหลมๆ เช่น ไม้เสียบลูกชิ้น
ขั้นตอนการทำ
1.นำกระดาษพับครึ่ง
2.วาดรูปที่สัมผัสกัน เช่น ปลา กับ สาหร่าย *ตามใจชอบของเด็ก
3.พอวาดเสร็จก็ทากาวเอาไม้ไว้ตรงกลางของกระดาษที่พับครึ่ง
4.เสร็จเรียบร้อยก็ นำมาหมุนเล่น
ประโยชน์จากการทำ
-นำมาใช้ในการเล่นของเด็กปฐมวัย
-เด็กได้เรียนรู้ ถึงวิทยาศาสตร์จากการหมุน ซึ่งภาพที่วาดมันจะ
ซ้อนกันทำให้มีมิติในการเห็นภาพนั้นมีความสัมพันธ์กัน เช่น
ภาพปลาและสาหร่ายถ้าหมุน ก็ทำให้เห็นว่าปลากำลังว่ายผ่าน
สาหร่ายไปมา เป็นต้น
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
เพื่อนำไปเป็นสื่อการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัย การสอด
แทรกความรู้ของวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก คือ การเกิดภาพที่มีการ
ซ้อนกัน และการทดลอง ด้วยตัวเด็กเอง
ครูควรให้เด็กลงมือทำด้วยตนเอง ได้เรียนรู้โดยการลงมือทำด้วยตนเอง(Learning by doing) เช่นการประดิษฐ์ ผลงานศิลปะ
ประเมินตนเอง
แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและร่วมตอบคำถามกับเพื่อนๆได้จดเนื้อหาที่เป็นความรู้ไว้ในสมุด
ประเมินเพื่อนๆ
เพื่อนๆน่ารัก แต่งกายเรียบร้อยร่วมกันสทนาและหาคำตอบกันได้เกือบทุกคน ตั้งใจเรียน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มุ่งมั่นในการสอนเพราะอยากให้นักศึกษาได้ความรู้มากๆ และนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน และให้การบ้านเพื่อให้ไปค้นคว้าด้วยตนเอง ศึกษาด้วยตนเอง
สิ่งที่หาเพิ่มเติม
อาจารย์พูดถึง วิธีการเรียนรู้ และ การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)
การที่เด็กลงมือกระทำกับวัตถุโดยผ่านประสามสัมผัสทั้ง5
คือ วิธีการเรียนรู้
เช่น การเดินทางมาเรียนโดยได้ทั้ง 3ทาง คือ รถไฟ เรือ รถเมล์เราวิเคราะห์รวบรวมความคิดที่จะมาแล้วว่าจะมาทางไหน เช่น อาจมาทางเรือ เพราะมันรวดเร็ว สะดวก และประหยัด เป็นต้น นี้ก็เป็น วิธีการเรียนรู้ ของบุคคลนั้นที่ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยทดลองและเรียนรู้ในการกระทำลงมือปฏิบัติกับสิ่งนั้น
การเรียนรู้ด้วยตนเอง(Constructionism )คือ เราได้เรียนรู้โดยการลงมือทำด้วยตนเอง(Learning by doing) เราทำสิ่งที่เราสนใจอยากจะทำและทำในสิ่งที่เราเป็นผู้คิดเองว่าจะทำอะไร(ไม่มีใครบังคับ) ในขณะที่ทำเราก็จะเรียนรู้สิ่งต่างๆที่เป็นความรู้ไปพร้อมๆกัน
เพื่อนๆออกไปพูดบทความ
1.สอนลูกเรื่องพืช
2.เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย
3.แนวทางสอนคิด เติมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก
4.การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆสำหรับคุณหนูๆ
สรุปความรู้ที่ได้รับ( knowledge)
กิจกรรมศิลปะ
อุปกรณ์
-กระดาษ
-สี ดินสอ
-กาว
-ไม้แหลมๆ เช่น ไม้เสียบลูกชิ้น
ขั้นตอนการทำ
1.นำกระดาษพับครึ่ง
2.วาดรูปที่สัมผัสกัน เช่น ปลา กับ สาหร่าย *ตามใจชอบของเด็ก
3.พอวาดเสร็จก็ทากาวเอาไม้ไว้ตรงกลางของกระดาษที่พับครึ่ง
4.เสร็จเรียบร้อยก็ นำมาหมุนเล่น
ประโยชน์จากการทำ
-นำมาใช้ในการเล่นของเด็กปฐมวัย
-เด็กได้เรียนรู้ ถึงวิทยาศาสตร์จากการหมุน ซึ่งภาพที่วาดมันจะ
ซ้อนกันทำให้มีมิติในการเห็นภาพนั้นมีความสัมพันธ์กัน เช่น
ภาพปลาและสาหร่ายถ้าหมุน ก็ทำให้เห็นว่าปลากำลังว่ายผ่าน
สาหร่ายไปมา เป็นต้น
ผลงานที่สำเร็จ
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
เพื่อนำไปเป็นสื่อการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัย การสอด
แทรกความรู้ของวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก คือ การเกิดภาพที่มีการ
ซ้อนกัน และการทดลอง ด้วยตัวเด็กเอง
ครูควรให้เด็กลงมือทำด้วยตนเอง ได้เรียนรู้โดยการลงมือทำด้วยตนเอง(Learning by doing) เช่นการประดิษฐ์ ผลงานศิลปะ
ประเมินตนเอง
แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและร่วมตอบคำถามกับเพื่อนๆได้จดเนื้อหาที่เป็นความรู้ไว้ในสมุด
ประเมินเพื่อนๆ
เพื่อนๆน่ารัก แต่งกายเรียบร้อยร่วมกันสทนาและหาคำตอบกันได้เกือบทุกคน ตั้งใจเรียน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มุ่งมั่นในการสอนเพราะอยากให้นักศึกษาได้ความรู้มากๆ และนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน และให้การบ้านเพื่อให้ไปค้นคว้าด้วยตนเอง ศึกษาด้วยตนเอง
สิ่งที่หาเพิ่มเติม
“เฟรอเบล” บิดาการศึกษาปฐมวัย
เฟรดริค วิสเฮม เฟรอเบล ผู้นำการศึกษาอนุบาลที่ได้รับ
ขนานนามว่าเป็น “บิดาการศึกษาปฐมวัย” ด้วยการพัฒนา
โรงเรียนอนุบาลแห่งแรกขึ้นในประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ. 1837
เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยให้เป็นไปอย่างมีรูป
แบบ กำหนดให้มีการวางแผนการสอน มีหลักสูตรสำหรับการ
ศึกษาปฐมวัย มีการฝึกหัดครู รวมถึงการพัฒนาการสอนเด็ก
ปฐมวัยด้วยการผลิตอุปกรณ์การสอน ที่เรียกว่า ชุดอุปกรณ์ และ
การจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่เรียกว่า การงานอาชีพ
ขนานนามว่าเป็น “บิดาการศึกษาปฐมวัย” ด้วยการพัฒนา
โรงเรียนอนุบาลแห่งแรกขึ้นในประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ. 1837
เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยให้เป็นไปอย่างมีรูป
แบบ กำหนดให้มีการวางแผนการสอน มีหลักสูตรสำหรับการ
ศึกษาปฐมวัย มีการฝึกหัดครู รวมถึงการพัฒนาการสอนเด็ก
ปฐมวัยด้วยการผลิตอุปกรณ์การสอน ที่เรียกว่า ชุดอุปกรณ์ และ
การจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่เรียกว่า การงานอาชีพ
เฟรอเบลเชื่อว่าเด็กมีความสามารถในสิ่งดีงาม มาตั้งแต่เกิด เด็ก
ปฐมวัยควรจะเรียนรู้ด้วยการเล่น การแสดงออกอย่างอิสระ เด็ก
ควรได้รับประสบการณ์จากการเรียนรู้ทั้งนอกชั้นและในชั้นเรียน
โดยเฉพาะประสบการณ์ที่ได้มาจากการเล่น ด้วยเหตุผลนี้เฟรอ
เบลจึงใช้พื้นฐานความพร้อมของเด็กในการเรียน พัฒนาการตาม
ช่วงอายุ ธรรมชาติของเด็กและเหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่เฟรอเบ
ลมีความสนใจมาจัดทำเป็นชุดของเล่นและกิจกรรมสำหรับเด็กที่
สอดคล้องกับวัยของเด็กโดยเรียกชื่อว่า ชุดอุปกรณ์ (Gifts) และ
การงานอาชีพ (Occupations)
ปฐมวัยควรจะเรียนรู้ด้วยการเล่น การแสดงออกอย่างอิสระ เด็ก
ควรได้รับประสบการณ์จากการเรียนรู้ทั้งนอกชั้นและในชั้นเรียน
โดยเฉพาะประสบการณ์ที่ได้มาจากการเล่น ด้วยเหตุผลนี้เฟรอ
เบลจึงใช้พื้นฐานความพร้อมของเด็กในการเรียน พัฒนาการตาม
ช่วงอายุ ธรรมชาติของเด็กและเหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่เฟรอเบ
ลมีความสนใจมาจัดทำเป็นชุดของเล่นและกิจกรรมสำหรับเด็กที่
สอดคล้องกับวัยของเด็กโดยเรียกชื่อว่า ชุดอุปกรณ์ (Gifts) และ
การงานอาชีพ (Occupations)
แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษา
1. จอนห์น ดิวอี้ (John Dewey) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตัดสิน
ใจด้วยตนเอง ผู้สอน มีหน้าที่ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา “การเรียนรู้
เกิดจากการกระทำ(Learning by doing)”
2. สกินเนอร์ (B.F. Skinner) การเรียนรู้แบบการกระทำ และการ
เสริมแรง ทั้งบวก และลบ
3. ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau ) “เด็กเปรียบ
เสมือนผ้าขาว” การให้การศึกษาแก่เด็กต้องทำความเข้าใจ
ธรรมชาติของเด็กเสียก่อน
4. ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike ) ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
(Connectionism Theory) เน้นสิ่งเร้า(Stimulus)กับการตอบ
สนอง(Response)
1. จอนห์น ดิวอี้ (John Dewey) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตัดสิน
ใจด้วยตนเอง ผู้สอน มีหน้าที่ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา “การเรียนรู้
เกิดจากการกระทำ(Learning by doing)”
2. สกินเนอร์ (B.F. Skinner) การเรียนรู้แบบการกระทำ และการ
เสริมแรง ทั้งบวก และลบ
3. ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau ) “เด็กเปรียบ
เสมือนผ้าขาว” การให้การศึกษาแก่เด็กต้องทำความเข้าใจ
ธรรมชาติของเด็กเสียก่อน
4. ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike ) ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
(Connectionism Theory) เน้นสิ่งเร้า(Stimulus)กับการตอบ
สนอง(Response)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น